ฐานข้อมูลเพื่อการรายงานการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ (พ.ศ.2559-2563)
  ด้านที่ 1 | ด้านที่ 2 | ด้านที่ 3 | ด้านที่ 4 | ด้านที่ 5 |
ด้านที่ 2 ด้านคุณภาพบัณฑิต (ตรี โท เอก)
  • องค์ประกอบที่ 2.1
  • องค์ประกอบที่ 2.2
  • องค์ประกอบที่2.3
องค์ประกอบที่ 2.1 คุณภาพบัณฑิตปริญญาตรี
 

ประเด็นพิจารณาที่ 1 (5)

   การมีงานทำ หรือการศึกษาต่อ หรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี หลังสำเร็จการศึกษา (ข้อมูลเชิงคุณภาพ)
ผลการดำเนินงาน
-

เอกสารหลักฐาน

หมายเลขเอกสาร

ชื่อเอกสาร

2-1-1(5-1)

รายงานผลการติดตามตรวจสอบ และประเมินผลงานของมหาวิทยาลัย อธิการบดี คณบดี ประจำปีงบประมาณ 2559 และ 2560

2-1-1(5-2)

รายงานภาวะการมีงานทำของบัณฑิต

2-1-1(5-3)

 
 

ประเด็นพิจารณาที่ 2 (6)

   ผลการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) (ข้อมูลเชิงคุณภาพ)
ผลการดำเนินงาน
-

เอกสารหลักฐาน

หมายเลขเอกสาร

ชื่อเอกสาร

2-1-2(6-1)

รายงานผลการติดตามตรวจสอบ และประเมินผลงานของมหาวิทยาลัย อธิการบดี คณบดี ประจำปีงบประมาณ 2559 และ 2560

2-1-2(6-1)

รายงานภาวะการมีงานทำของบัณฑิต

2-1-2(6-1)

 
 

ประเด็นพิจารณาที่ 3 (7)

   ทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 อาทิ ทักษะในการทำงาน Hard Skill Soft Skill IT Literacy หรือ Digital Literacy จากการสัมภาษณ์ผู้ใช้บัณฑิต หรือผลการปฏิบัติที่แสดงถึงทักษะดังกล่าว (ข้อมูลเชิงคุณภาพ)
ผลการดำเนินงาน
-

เอกสารหลักฐาน

หมายเลขเอกสาร

ชื่อเอกสาร

2-1-3(7-1)

รูปแบบการบริหารหลักสูตรตามแนวคิดการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ (Productive Learning) ของสาขาวิชา

2-1-3(7-2)

แนวปฏิบัติที่ดีด้านการจัดการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ (Productive Learning)

2-1-3(7-3)

 
 

ประเด็นพิจารณาที่ 4 (8)
   ผลการทดสอบภาษาอังกฤษ (ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ)

ผลการดำเนินงาน
-

เอกสารหลักฐาน

หมายเลขเอกสาร

ชื่อเอกสาร

2-1-4(8-1)

แผนปฏิบัติราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปีงบประมาณ 2559 - 2561

2-1-4(8-2)

ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เรื่องการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ พ.ศ.2554

2-1-4(8-3)

 
 
 
 
 
 
 
องค์ประกอบที่ 2.2 คุณภาพบัณฑิตปริญญาโท
 

ประเด็นพิจารณาที่ 1 (9)

   ผลการนำความรู้และทักษะในวิชาชีพไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนางานโดยใช้ความรู้ขั้นสูงในการปฏิบัติและพัฒนางานเพื่อให้งานหรือองค์กรเกิดความก้าวหน้าในเชิงนโยบาย วิชาการ หรือด้านการบริหารจัดการ โดยมีคุณภาพผลงานเป็นที่ยอมรับเชิงประจักษ์ (ข้อมูลเชิงคุณภาพ)
ผลการดำเนินงาน
-

เอกสารหลักฐาน

หมายเลขเอกสาร

ชื่อเอกสาร

2-2-1(9-1)

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2557

2-2-1(9-2)

รายงานผลงานการตีพิมพ์เผยแพร่วิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาโทปีการศึกษา 2558 ปีการศึกษา 2559 และ
ปีการศึกษา 2560 (เกณฑ์ สกอ. ตัวบ่งชี้ที่ 2.2)

2-2-1(9-3)

ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี เรื่อง ลักษณะและแนวทางการทำ วิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ และการค้นคว้าอิสระ ในระดับต่างๆ พ.ศ. 2556
 

ประเด็นพิจารณาที่ 2 (10)

     สัดส่วนผลงานของบัณฑิตที่จบการศึกษาระดับปริญญาโทที่พัฒนาความเชี่ยวชาญ หรือการต่อยอดความรู้ที่สอดคล้องกับ (1) แนวทางการวิจัยและพัฒนาตามความเชี่ยวชาญของสถาบัน หรือ (2) แนวทางการวิจัยและพัฒนาเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ หรือ (3) งานวิจัยที่สามารถประยุกต์ใช้กับหน่วยงานภายนอก หรือภาคอุตสาหกรรม (ข้อมูลเชิงคุณภาพ)
ผลการดำเนินงาน
-

เอกสารหลักฐาน

หมายเลขเอกสาร

ชื่อเอกสาร

2-2-2(10-1)

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2557

2-2-2(10-2)

ยุทธศาสตร์การวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา

2-2-2(10-3)

รายงานผลงานการตีพิมพ์เผยแพร่วิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระของนักศึกษาระดับปริญญาโทปีการศึกษา 2558 ปีการศึกษา 2559 และปีการศึกษา 2560

2-2-2(10-3)

ผลงานวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาโทที่สอดคล้องกับ 3 ประเด็นหลัก
 

ประเด็นพิจารณาที่ 3 (11)
     ผลการทดสอบภาษาอังกฤษ
(ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ)

ผลการดำเนินงาน
-

เอกสารหลักฐาน

หมายเลขเอกสาร

ชื่อเอกสาร

2-2-3(11-1)

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2557

2-2-3(11-1)

 

2-2-3(11-1)

 
 
 
 
 
 
องค์ประกอบที่ 2.3 คุณภาพบัณฑิตปริญญาเอก
 

ประเด็นพิจารณาที่ 1 (12)
   คุณภาพของงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในระดับชาติ หรือ นานาชาติ โดยพิจารณาตามเกณฑ์ของ สกอ. (ข้อมูลเชิงคุณภาพ)

ผลการดำเนินงาน
-

เอกสารหลักฐาน

หมายเลขเอกสาร

ชื่อเอกสาร

2-3-1(12-1)

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2557

2-3-1(12-2)

รายงานผลงานการตีพิมพ์เผยแพร่วิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาเอกปีการศึกษา 2558 ปีการศึกษา 2559 และปีการศึกษา 2560 (เกณฑ์ สกอ. ตัวบ่งชี้ที่ 2.2)

2-3-1(12-3)

 
 

ประเด็นพิจารณาที่ 2 (13)

   สัดส่วนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ของผู้เรียนระดับปริญญาเอกเป็นงานวิจัยที่เกิดองค์ความรู้ใหม่ หรือนวัตกรรมที่สอดคล้องกับ 1) แนวทางการวิจัยและพัฒนาตามความเชี่ยวชาญของสถาบัน หรือ 2) แนวทางการวิจัยและพัฒนาเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ หรือ 3) งานวิจัยที่สามารถประยุกต์ใช้กับหน่วยงานภายนอก หรือภาคอุตสาหกรรม (ข้อมูลเชิงคุณภาพ)
ผลการดำเนินงาน
-

เอกสารหลักฐาน

หมายเลขเอกสาร

ชื่อเอกสาร

2-3-2(13-1)

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2557

2-3-2(13-2)

ยุทธศาสตร์การวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา

2-3-2(13-3)

รายงานผลงานการตีพิมพ์เผยแพร่วิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาเอกปีการศึกษา 2558 ปีการศึกษา 2559 และปีการศึกษา 2560

2-3-2(13-3)

ผลงานวิจัยของนักศึกษาระดับปริญญาเอกที่สอดคล้องกับ 3 ประเด็นหลัก
 

ประเด็นพิจารณาที่ 3 (14)
    ผลการทดสอบภาษาอังกฤษ (ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ)

ผลการดำเนินงาน
-

เอกสารหลักฐาน

หมายเลขเอกสาร

ชื่อเอกสาร

2-3-3(14-1)

ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2557

2-3-3(14-2)

 

2-3-3(14-3)

 
 
 
 
 
 
องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต
ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน
ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
เกณฑ์มาตรฐาน :
1. มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ทั้งด้านวิชาการ เทคนิคการสอนและการวัดผล และมีแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์
2. มีการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนให้เป็นไปตามแผนที่กำหนด
3. มีสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างขวัญและกำลังใจให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. มีระบบการติดตามให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนนำความรู้และทักษะที่ได้จากการพัฒนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ตลอดจนการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง
5. มีการให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน และดูแลควบคุมให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนถือปฏิบัติ
6. มีการประเมินผลความสำเร็จของแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน
7. มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน
หลักฐาน
หลักฐานสำหรับการประเมินในเกณฑ์มาตรฐานข้อที่ 3 เช่นผลการประเมิน หรือผลการสำรวจความพึงพอใจของคณาจารย์และบุคลากร ด้านสวัสดิการ การเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และการสร้างขวัญและกำลังใจ หรือหลักฐานเชิงประจักษ์อื่นๆ ที่เชื่อมโยงให้เห็นการทำงานได้ดีขึ้น
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ
มีการดำเนินการ 2 ข้อ
มีการดำเนินการ 3 หรือ 4 ข้อ
มีการดำเนินการ 5 หรือ 6 ข้อ
มีการดำเนินการ 7 ข้อ
การประเมินตนเอง
เป้าหมาย
การประเมินตนเอง
คะแนน
การบรรลุเป้าหมาย
6 ข้อ
จำนวน 6 ข้อ (ข้อ 1-6)
5 คะแนน
บรรลุ
ผลการดำเนินงาน
1. มีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ทั้งด้านวิชาการ เทคนิคการสอนและการวัดผล และมีแผนการบริหารและพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุนที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์
เอกสารหลักฐาน

2.4-1-1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ที่ 301/2556 วันที่ 20 กันยายน 2556
2.4.-1-2 แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีงบประมาณ 2557
2.4.-1-3 รายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ครั้งที่ 2/2556 วันพุธที่ 31 ตุลาคม 2556
2.4.-1-4 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารคณะวิทยาการจัดการ ครั้งที่ 7/2556 วันพฤหัสบดีที่ 6 พฤศจิกายน 2556
2.4.-1-5 ผลการวิเคราะห์อัตรากำลัง แผนพัฒนาบุคลากร ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2555-2559) หน้า 20-32
2.4.-1-6 แบบสำรวจความต้องการในการฝึกอบรมของบุคลากร ประจำปีงบประมาณ 2557
2.4.-1-7 คู่มือการประเมินผลการปฏิบัติงานประจำปีของบุคลากร หน้า 57-59
2.4.-1-8 แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีงบประมาณ 2557 การวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT Analysis) หน้า 9-10

 


2. มีการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนให้เป็นไปตามแผนที่กำหนด
เอกสารหลักฐาน

2.4.-2-1 แผนพัฒนาบุคลากร ระยะ 5 ปี (พ.ศ.2555-2559) หน้า 26-30
2.4-2-2 เอกสารการคัดเลือกอาจารย์ตามกรอบอัตรากำลัง มีดังนี้
- แผนอัตรากำลังคนที่ต้องการเพิ่ม ปีงบประมาณ 2557
- ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เรื่อง รับสมัครอาจารย์ประจำตามสัญญาจ้าง
-ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เรื่อง รายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบแข่งขัน ตำแหน่งอาจารย์
- ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เรื่อง ผลการสอบแข่งขันอาจารย์ประจำตามสัญญาจ้าง

2.4-2-3 คู่มือปฏิบัติงานสำนักงาน คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 255 2
2.4-2-4 ประกาศและข้อบังคับหลักเกณฑ์การประเมิน มีดังนี้
- ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี ว่าด้วยคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลงานของคณบดี พ.ศ.2549 
-ประกาศสภามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี เรื่อง แนวปฏิบัติว่าด้วยการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ พ.ศ.2554
-ข้อบังคับสภามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติราชการของข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2554
- ประกาศมหามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2554
-ประกาศมหามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินเพื่อต่อสัญญาจ้างพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุนตามบทเฉพาะกาล พ.ศ.2554

2.4-2-5 แผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีงบประมาณ 2557 ใช้เอกสารร่วมกับ 2.4-1-2
2.4-2-6 คู่มือประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์


3. มีสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างขวัญและกำลังใจคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เอกสารหลักฐาน

2.4-3-1 ภาพถ่ายบรรยากาศของสถานที่ทำงาน
2.4-3-2 ประกาศเรื่อง สวัสดิการบุคลากรคณะวิทยาการจัดการ วันที่ 8 กุมภาพันธ์ 2553
2.4-3-3 ภาพแสดงสถานที่ประชาสัมพันธ์ข่าวเรื่องขอรับรางวัลของคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน บริเวณบอร์ดประชาสัมพันธ์สำนักงานคณบดี
2.4-3-4 เว็บไซต์คณะวิทยาการจัดการ http://fms.vru.ac.th
2.4-3-5 โครงการสนับสนุนและพัฒนานักวิจัย ปรากฏอยู่ในแผนปฏิบัติการ คณะวิทยาการจัดการ ประจำปีงบประมาณ 2557 หน้า 34
2.4-3-6 โครงการพี่เลี้ยงนักวิจัย ระหว่างเดือนตุลาคม 2556-สิงหาคม 2557
2.4-3-7 ภาพบรรยากาศการทำงาน Happy Workpalce องค์กรแห่งความสุข
2.4-3-8 สวัสดิการตรวจสุขภาพ
-โครงการตรวจสุขภาพประจำปีกับอาจารย์ ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ และอาจารย์ประจำตามสัญญาจ้าง ในวันอังคารที่ 28 มกราคม 2557
-โครงการตรวจสุขภาพประจำปีพนักงานมหาวิทยาลัยสายสนับสนุน ลูกจ้างชั่วคราว พนักงานราชการ ลูกจ้างประจำตามสัญญาจ้าง ในวันพุธที่ 23 เมษายน 2557
- กิจกรรมออกกำลังกับกิจกรรมแอโรบิค เพื่อสุขภาพและกิจกรรมโยคะเพื่อสุขภาพ

 

 
4.มีระบบการติดตามให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนนำความรู้และทักษะที่พัฒนามาใช้การจัดการเรียนการสอนและการวัดผลการเรียนรู้ของนักศึกษา ตลอดจนการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้อง
เอกสารอ้างอิง

2.4-4-1 แบบรายงานผลการฝึกอบรม สัมมนา ดูงาน  ปีงบประมาณ 2557


 

5.มีการให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน และดูแลควบคุมให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนถือปฏิบัติ
           
เอกสารอ้างอิง

2.4-5-1 คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจรรยาบรรณวิชาชีพอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ที่ 300/2556 วันที่ 20 กันยายน 2556
2.4-5-2 เว็บไซต์ร้องเรียนจรรยาบรรณคณะวิทยาการจัดการ http://202.29.39.111/principles/index.php
2.4-5-3 สถานที่ติดประกาศประกาศเกี่ยวกับจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์
2.4-5-4 ลงลายมือชื่อรับทราบเกี่ยวกับข้อบังคับสภาพมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี ว่าด้วยจรรยาบรรณของคณาจารย์และบุคลากรในมหาวิทยาลัย พ.ศ.2554
2.4-5-5 รายงานสรุปผลการดำเนินงานด้านจรรยาบรรณ
2.4-5-6 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารงานคณะวิทยาการจัดการ ครั้งที่ 6/2557 วันพุธที่ 28 พฤษภาคม 2557

 

 

6.มีการประเมินผลการความสำเร็จของแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน
           คณะวิทยาการจัดการมีการประเมินผลความสำเร็จของการปฏิบัติงานตามกิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน และรายงานต่อคณะกรรมการบริหารคณะเป็นระยะ ๆ ปรากฏอยู่ในรายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารงานคณะวิทยาการจัดการ
เอกสารอ้างอิง

2.4-6-1 รายงานการประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน วันจันทร์ที่ 26 พฤษภาคม 2557
2.4-6-2 สรุปผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาบุคลากร ประจำปีงบประมาณ 2557

 

7.มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน
          คณะมีการนำผลการประเมินปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน
เอกสารอ้างอิง
2.4-7-1 รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารงานคณะวิทยาการจัดการ ครั้งที่ 6/2557 วันพุธที่ 28 พฤษภาคม 2557
2.4-7-2 แผนการปฏิบัติการคณะวิทยาการจัดการ ประจำปีงบประมาณ 2557 หน้า 42
2.4-7-3 โครงการอบรมการจัดทำ TQF สำหรับคณาจารย์และบุคลากร คณะวิทยาการจัดการ
2.4-7-4 รายงานสรุปผลโครงการอบรมการจัดทำ TQF สำหรับคณาจารย์และบุคลากร คณะวิทยาการจัดการ

 

จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง

            จุดแข็ง

1.คณะมีแผนการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ด้านวิชาการ เทคนิคการสอน
2.คณะมีแผนพัฒนาบุคลากรที่มีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงประจักษ์
3.คณะมีสวัสดิการเสริมสร้างสุขภาพที่ดี และสร้างขวัญกำลังใจให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนอย่างมีประสิทธิภาพ
4.คณะมีการให้ความรู้ด้านจรรยาบรรณอาจารย์และบุคลากรและดูแลควบคุมให้คณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนถือปฏิบัติ
5.คณะมีการรายงานสรุปผลการประเมินความสำเร็จของแผนพัฒนาบุคลากร เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุนต่อไป

  จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง
      - คณะควรส่งเสริมและสนับสนุนเกี่ยวกับงบประมาณการพัฒนาบุคลากร
ผู้รับผิดชอบ
1.น.ส.สุชาดา บัวใบ
2.น.ส.ศิริวรรณ สุขแซว
องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต
ตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน
ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
เกณฑ์มาตรฐาน :
1. มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทุกหลักสูตร์
2. ทุกรายวิชาของทุกหลักสูตร มีรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี)ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาตามที่กำหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
3. ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียนหรือจากการทำวิจัย
4. มีการให้ผู้มีประสบการณ์ทางวิชาการหรือวิชาชีพจากหน่วยงานหรือชุมชนภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนทุกหลักสูตร
5. มีการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากการวิจัย หรือจากกระบวนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
6. มีการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา โดยผลการประเมินความพึงพอใจแต่ละรายวิชาต้องไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5
7. มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้ ทุกรายวิชา ตามผลการประเมินรายวิชา
 
หมายเหตุ
1. มหาวิทยาลัยหรือคณะจะต้องประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อคุณภาพการเรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษา ยกเว้น รายวิชาที่ไม่มีการเรียนการสอนในชั้นเรียนหรือในห้องปฏิบัติการ เช่น การฝึกงาน สหกิจศึกษา การค้นคว้าอิสระ วิชาโครงงาน สารนิพนธ์ และวิทยานิพนธ์ เป็นต้น
2. งานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนตามเกณฑ์ข้อ 5 หมายถึง งานวิจัยของผู้สอนของสถาบันที่ได้พัฒนาขึ้น และนำไปใช้ในการพัฒนาวิธีการสอน
กรณีหลักสูตรที่ไม่เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ต้องมีการจัดทำรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาด้วย
 
 
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ
มีการดำเนินการ 2 หรือ 3 ข้อ
มีการดำเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ
มีการดำเนินการ 6 ข้อ
มีการดำเนินการ 7 ข้อ
 
การประเมินตนเอง
เป้าหมาย
การประเมินตนเอง
คะแนน
การบรรลุเป้าหมาย
7 ข้อ
จำนวน 7 ข้อ (ข้อ 1-7)
5 คะแนน
บรรลุ
 
ผลการดำเนินงาน
 
1.มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทุกหลักสูตร
เอกสารหลักฐาน

2.6-1-1 ประกาศคณะวิทยาการจัดการ เรื่อง การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ลงวันที่ 17 ธันวาคม 2556
2.6-1-2 คำสั่งคณะวิทยาการจัดการ ที่ 331/2556 เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการวิชาการคณะวิทยาการจัดการ ลงวันที่ 13 พฤศจิกายน  2556
2.6-1-3 มคอ. 3
2.6-1-4 มคอ. 5
2.6-1-5 ระบบประเมินการสอน online (สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน) http://cms.vru.ac.th

 

2.ทุกรายวิชาของทุกหลักสูตร มีรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ตามที่กำหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดม ศึกษาแห่งชาติ
เอกสารหลักฐาน

2.6-2-1 มคอ.3
2.6-2-2 มคอ.4
2.6-2-3 ประกาศคณะวิทยาการจัดการ เรื่อง นโยบายการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ลงวันที่ 17 ธันวาคม 2556
2.6-2-4 ประกาศคณะวิทยาการจัดการ เรื่อง การจัดทำแนวการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ลงวันที่ 24 กันยายน 2553
2.6-2-5 มคอ. 5

 

3.ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียน
เอกสารหลักฐาน

2.6-3-1 มคอ. 3 ของ 10 หลักสูตรดังนี้
- หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์
- หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยว
- หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทั่วไป
- หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ
- หลักสูตรนิเทศศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์
- หลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี
- หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน
- หลักสูตรบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
- หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
- หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารธุรกิจ
 
2.6-3-2 คำสั่งมหาวิทยาลัย ที่ 062/2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการประจำหลักสูตร ลงวันที่ 11 มกราคม 2557
2.6-3-3 มคอ. 5

 

4.มีการให้ผู้มีประสบการณ์ทางวิชาการหรือวิชาชีพจากหน่วยงาน หรือชุมชนภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอนทุกหลักสูตร
เอกสารหลักฐาน

2.6-4-1 คำสั่งมหาวิทยาลัย ที่ 940/2556 เรื่อง แต่งตั้งอาจารย์พิเศษ ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2556
2.6-4-2 สรุปผลโครงการพัฒนาระบบกลไกการประกันคุณภาพ การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ  ได้แก่
1. สาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยว
- โครงการฝึกภาคปฏิบัติพระราชวังบางปะอิน จ.พระนครศรีอยุธยา (14 ม.ค. 57)
- โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการรายวิชาหลักการวางแผนและการจัดรายการนำเที่ยว (21 ม.ค. 57)
2. สาขาวิชาการจัดการทั่วไป
-  โครงการพัฒนาความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมองค์การ (24 พ.ย. 56)
- โครงการอบรมธุรกิจแฟรนไชส์ ยุคร่วมสมัย (1 ธ.ค. 56)
3. สาขาวิชาการบริหารธุรกิจ
- โครงการพัฒนาเทคนิคการฝึกอบรม (15 ม.ค. 57)
- โครงการศึกษากระบวนการบริหารกิจการธุรกิจ (17 ธ.ค. 56)
4. สาขาวิชาการบัญชี
- โครงการอบรมการใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางการบัญชี (20-21, 29-30 พ.ย. 56)
- โครงการศึกษากระบวนการผลิตและการจัดการต้นทุน (7 ม.ค. 57)
5. สาขาวิชานิเทศศาสตร์
- โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการกลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ (23 ม.ค. 57)
- โครงการศึกษาดูงานสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสีช่อง 3 (19 ก.พ. 57)
6. สาขาวิชาการจัดการ
โลจิสติกส์และซัพพลายเชน

 - โครงการการจัดการ โลจิสติกส์เชิงธุรกิจ (16, 30 ก.ค. 56)
- โครงการกลยุทธ์การจัดการคลังสินค้ารุ่น 3 (20, 27 ธ.ค. 56)
7. สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
- เชิญวิทยากรจากภายนอกมาบรรยายในรายวิชาสัมมนาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ (19 มิ.ย. 56)
- โครงการศึกษาดูงานสถานประกอบการในรายวิชาการจัดการฐานข้อมูลและการประยุกต์ใช้ในเชิงธุรกิจ (25 ก.ค. 56)
 8. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์
- โครงการอบรมความรู้และศึกษาดูงานตลาดหลักทรัพย์ (3 ธ.ค. 56)
9. สาขาวิชาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
- โครงการจัดบอร์ดกิจกรรมและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับการค้าปลีก
- โครงการศึกษาดูงานศูนย์การเรียนรู้ตันแลนด์ดินแดนแห่งความสมดุล (5 ก.ย. 56)
10. สาขาวิชาบริหารธุรกิจ(ระดับบัณฑิตศึกษา)
- โครงการศึกษาดูงานนอกสถานที่ บริษัท ชายสี่บะหมี่เกี๊ยว (9 พ.ย. 56)
- โครงการสัมมนาเชิงวิชาการ เรื่องการบริหารจัดการธุรกิจในยุคประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน   (3-4 ส.ค. 56)

 

5.มีการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากงานวิจัย หรือจากกระบวนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
เอกสารหลักฐาน

2.6-5-1 มคอ. 3 รายวิชา3562402 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ ผศ.ดร.ภิญญาพัชญ์ นาคภิบาล
2.6-5-2 รายงานการประชุมคณะกรรมการวิชาการ ครั้งที่ 2/2556 วันที่ 16 ธันวาคม 2556
2.6-5-3 รายงานสรุปผลโครงการอบรมการจัดทำ TQF สำหรับคณาจารย์และบุคลากรคณะวิทยาการจัดการ  วันที่ 29 มกราคม 2557

 

6.มีการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษาโดยผลการประเมินความพึงพอใจแต่ละรายวิชาไม่ต่ำกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5
เอกสารหลักฐาน

2.6-6-1 ระบบประเมินการสอน online (สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน) 
2.6-6-2 ผลการประเมินการสอน online คณะวิทยาการจัดการ ปีการศึกษา 2556

 

7.มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้ ทุกรายวิชา ตามผลการประเมินรายวิชา
เอกสารหลักฐาน

2.6-7-1 คำสั่งมหาวิทยาลัย ที่ 062/2557 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการประจำหลักสูตร ลงวันที่ 11 มกราคม 2557
2.6-7-2 รายงานการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของปีการศึกษา 2555
2.6-7-3 รายงานการประชุมคณะกรรมการวิชาการ วันที่ 8 พฤษภาคม 2556
2.6-7-4 มคอ.3 รายวิชา 3562402 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
2.6-7-5 ผลสำรวจความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอนภาคการศึกษาที่ 1/2556 รายวิชา 3562402 การบริหารทรัพยากรมนุษย์

 
 
จุดเด่น/แนวทางพัฒนา
      จุดแข็ง

1.ทุกหลักสูตรมีระบบและกลไกการประกันคุณภาพการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และมีการจัดทำรายละเอียดของรายวิชาและของประสบการณ์ภาคสนามก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาตามที่กำหนดในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
2.ทุกหลักสูตรมีรายวิชาที่ส่งเสริมทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเอง และส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติทั้งในและนอกห้องเรียน ตลอดจนได้เชิญผู้มีประสบการณ์ทางวิชาการหรือวิชาชีพจากหน่วยงานหรือชุมชนเข้ามีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนการสอน
3.ทุกหลักสูตรมีการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากงานวิจัย หรือจากกระบวนการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
4.ทุกหลักสูตรมีการประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อคุณภาพการจัดการเรียนการสอน และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ทุกรายวิชา ทุกภาคการศึกษาและมีการพัฒนาหรือปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอนหรือการประเมินผลการเรียนรู้ ทุกรายวิชาตามผลการประเมินรายวิชา

แนวทางเสริม
-ทุกหลักสูตรควรเพิ่มการจัดการเรียนรู้ที่พัฒนาจากงานวิจัย หรือจากกระบวนการจัดการความรู้ในทุกรายวิชาหรือให้มากที่สุด
 
ผู้รับผิดชอบ
1.อาจารย์ศิริวรรณ คำดี
2.นางพากเพียร ธูปบูชากร
 
 
 
องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต
ตัวบ่งชี้ที่ 2.7 ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะ
ชนิดของตัวบ่งชี้ : กระบวนการ
เกณฑ์มาตรฐาน :
1. มีการสำรวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตอย่างน้อยสำหรับทุกหลักสูตรระดับปริญญาตรี ทุกรอบระยะเวลาตามแผนกำหนดการศึกษาของหลักสูตร
2. มีการนำผลจากข้อ 1 มาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนที่ส่งเสริมทักษะอาชีพและคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต
3. มีการส่งเสริมสนับสนุนทรัพยากรทั้งด้านบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ และงบประมาณที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต
4. มีระบบและกลไกการส่งเสริมให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุมระหว่างสถาบัน หรือที่ประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ
5. มีกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาที่จัดโดยสถาบัน
 
เกณฑ์มาตรฐานเพิ่มเติมเฉพาะกลุ่ม :
 
6. มีระบบและกลไกสนับสนุนการประยุกต์ใช้ผลงานจากวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และมีการรับรองการใช้ประโยชน์จริงจากหน่วยงานภาครัฐ หรือเอกชน หรือหน่วยงานวิชาชีพ (เฉพาะกลุ่ม ค 1)
7. มีการพัฒนาทักษะนักศึกษาในการจัดทำบทความจากวิทยานิพนธ์และมีการนำไปตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติ (เฉพาะกลุ่ม ง)
 
 
เกณฑ์การประเมิน
1. เกณฑ์ทั่วไป
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ
มีการดำเนินการ 2
มีการดำเนินการ 3 ข้อ
มีการดำเนินการ 4 ข้อ
มีการดำเนินการ 5 ข้อ
 
2.เกณฑ์เฉพาะสถาบันกลุ่ม ค1 และ ง
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ
ตามเกณฑ์ทั่วไป
มีการดำเนินการ 2
ตามเกณฑ์ทั่วไป
มีการดำเนินการ 3 ข้อ
ตามเกณฑ์ทั่วไป
มีการดำเนินการ 4 หรือ 5 ข้อ
ตามเกณฑ์ทั่วไป
มีการดำเนินการ 5 ข้อ ตามเกณฑ์ทั่วไป และครบถ้วนตามเกณฑ์มาตรฐาน
เพิ่มเติมเฉพาะกลุ่ม
การประเมินตนเอง
เป้าหมาย
การประเมินตนเอง
คะแนน
การบรรลุเป้าหมาย
5 ข้อ
จำนวน ข้อ (ข้อ )
คะแนน
-
 
ผลการดำเนินงาน
1.มีการสำรวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตาม  ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตอย่างน้อยสำหรับทุกหลักสูตรระดับปริญญาตรี ทุกรอบระยะเวลาตามแผนกำหนดการศึกษาของหลักสูตร
เอกสารหลักฐาน
2.7-1-1 แผนการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร (ปี 2553-2557)
 

2.มีการนำผลจากข้อ 1 มาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนการวัดผลการศึกษาและสัมฤทธิผลทางการเรียนที่ส่งเสริมทักษะอาชีพและคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต
เอกสารหลักฐาน
เนื่องจากคณะไม่มีหลักสูตรที่ครบรอบระยะเวลาที่ต้องปรับปรุง จึงไม่มีผลที่ต้องนำมาปรับปรุง
 

3.มีการส่งเสริมสนับสนุนทรัพยากรทั้งด้านบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ และงบประมาณที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต
เอกสารหลักฐาน
2.7-3-1  แผนปฏิบัติการคณะวิทยาการจัดการ ประจำปีงบประมาณ 2556 และแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2557  
2.7-3-2 รายงานการประชุมอาจารย์ประจำสาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ครั้งที่ 6/2556 วันที่ 30 กันยายน 2556 และรายงานการประชุมอาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการท่องเที่ยว วันที่ 23 พฤษภาคม 2556
2.7-3-3 เว็บไซต์คณะวิทยาการจัดการ  http://fms.vru.ac.th ได้แก่
- เว็บบอร์ด KM
- Facebook คณะวิทยาการจัดการ
 

4.มีระบบและกลไกการส่งเสริมให้นักศึกษาระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุมระหว่างสถาบัน หรือที่ประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ
เอกสารหลักฐาน

2.7-4-1 ประกาศมหาวิทยาลัย เรื่องค่าใช้จ่ายเป็นทุนสนับสนุนการเผยแพร่ผลงานวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ณ วันที่ 11 สิงหาคม 2553
2.7-4-2 บันทึกข้อความที่ 105/2556 เรื่องขั้นตอนการขอเข้าร่วมอบรมหรือประชุมวิชาการนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ ลงวันที่ 4 พฤศจิกายน 2556
2.7-4-3 รายงานการประชุมคณะกรรมการวิชาการคณะวิทยาการจัดการ ครั้งที่ 2/2556 วันที่ 16 ธันวาคม 2556
2.7-4-4 ช่องการประชาสัมพันธ์ ได้แก่
เว็บไซต์คณะวิทยาการจัดการ http://fms.vru.ac.th และ http://grad.vru.ac.th  และ บอร์ดประชาสัมพันธ์คณะวิทยาการจัดการ
2.7-4-5 แผนปฏิบัติการคณะวิทยาการจัดการ ประจำปีงบประมาณ 2556 และแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ 2557  
2.7-4-6 หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2555  
2.7-4-7 ขั้นตอนการขอเข้าร่วมอบรมหรือประชุมวิชาการนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ
2.7-4-8 มคอ.3 รายวิชา 3544902 การวิจัยตลาด ของอาจารย์นฤพันธ์  อาชาไกรสร
มคอ. 3 รายวิชา 3565149 การวิจัยทางธุรกิจ 1 ของ รศ.วรุณี  เชาวน์สุขุม

2.7-4-9 หนังสือตอบรับ เรื่อง แจ้งผลพิจารณาบทความวิจัย/วิชาการในวารสารวิชาการมหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ ปี 3 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม – มิถุนายน 2557  ที่ บฑ.ว.700 วันที่ 15 ตุลาคม 2556 ของนางสาวสุมิตรา  การพิกุล 52B53180422

 

5.มีกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาที่จัดโดยสถาบัน
เอกสารหลักฐาน

2.7-5-1 แผนปฏิบัติการคณะวิทยาการจัดการ ประจำปีงบประมาณ 2557   
2.7-5-2 สรุปโครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักศึกษา และโครงการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์ ได้แก่
- โครงการค่ายคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี (16-18 ธ.ค. 56)
- โครงการอบรมคุณธรรมและจริยธรรมเพื่อความสำเร็จของนักศึกษาสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ (26 ก.ค. 56)
- โครงการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม “บัณฑิตจิตอาสา พัฒนาท้องถิ่น” ของนักศึกษาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (22 มี.ค. 57)

2.7-5-3 ประกาศคณะวิทยาการจัดการ เรื่อง กรอบคุณธรรมและจริยธรรมของนักศึกษาคณะวิทยาการจัดการ  วันที่ 5 กันยายน 2555

 

 
 
จุดแข็ง/แนวทางเสริมจุดแข็ง/จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/วิธีปฏิบัติที่ดี/นวัตกรรม
      จุดแข็ง
1.คณะมีการส่งเสริมสนับสนุนทรัพยากรด้านต่าง ๆ ที่เอื้อต่อการพัฒนาคุณลักษณะของบัณฑิต
2.คณะมีระบบและกลไกการส่งเสริมให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมการประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานทางวิชาการในที่ประชุมระหว่างสถาบันหรือที่ประชุมระดับชาติหรือนานาชาติ
3.คณะมีกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรีและระดับบัณฑิตศึกษา
จุดอ่อน/แนวทางเสริม
1. คณะควรส่งเสริม สนับสนุนให้นักศึกษาทั้งระดับปริญญาตรีและบัณฑิตศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานทางวิชาการในระดับนานาชาติให้มากขึ้น
2. คณะควรจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมให้กับนักศึกษาให้หลากหลายและต่อเนื่อง
 
ผู้รับผิดชอบ
1.อ.ศิริวรรณ คำดี
2. นางพากเพียร ธูปบูชากร
 
 
 
องค์ประกอบที่ 2 การผลิตบัณฑิต
ตัวบ่งชี้ที่ 2.8 ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา
ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต
เกณฑ์มาตรฐาน :
1. มีการกำหนดพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาที่ต้องการส่งเสริมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
2. มีการถ่ายทอดหรือเผยแพร่พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาที่ต้องการส่งเสริมตามข้อ 1 ไปยังผู้บริหาร คณาจารย์ นักศึกษาและผู้เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึงทั้งสถาบัน
3. มีโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมที่กำหนดในข้อ 1 โดยระบุตัวบ่งชี้และเป้าหมายวัดความสำเร็จ
4. มีการประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายที่กำหนดในข้อ 3 โดยมีผลการประเมินบรรลุเป้าหมายอย่างน้อยร้อยละ 90 ของตัวบ่งชี้
5. มีนักศึกษาหรือกิจกรรมที่เกี่ยวกับนักศึกษาได้รับการยกย่องชมเชย ประกาศเกียรติคุณด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยหน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติ
หมายเหตุ
1. การยกย่องชมเชยประกาศเกียรติคุณด้านคุณธรรม จริยธรรม หากดำเนินการในระดับมหาวิทยาลัย ต้องมีกรรมการภายนอกมหาวิทยาลัยอย่างน้อยร้อยละ 50 และมีผู้เข้าร่วมการแข่งขันหรือเข้าร่วมการคัดเลือกที่มาจากหลากหลายสถาบัน (ตั้งแต่ 3 สถาบันขึ้นไป)
2. หน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติ หมายถึงหน่วยงานนอกสถาบันระดับกรมหรือเทียบเท่าขึ้นไป (เช่น ระดับจังหวัด) หรือรัฐวิสาหกิจ หรือองค์การมหาชน หรือบริษัทมหาชนที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ หรือองค์กรกลางระดับชาติทั้งภาครัฐและเอกชน (เช่น สภาอุตสาหกรรม สภาหอการค้า สภาวิชาชีพ)
 
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
คะแนน 4
คะแนน 5
มีการดำเนินการ 1 ข้อ
มีการดำเนินการ 2
มีการดำเนินการ 3 ข้อ
มีการดำเนินการ 4 ข้อ
มีการดำเนินการ 5 ข้อ
 
การประเมินตนเอง
เป้าหมาย
การประเมินตนเอง
คะแนน
การบรรลุเป้าหมาย
4 ข้อ
จำนวน ข้อ (ข้อ )
คะแนน
-
 
ผลการดำเนินงาน
1.มีการกำหนดพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาที่ต้องการส่งเสริมไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
เอกสารหลักฐาน
-
 

2.มีการถ่ายทอดหรือเผยแพร่พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักศึกษาที่ต้องการส่งเสริมตามข้อ 1 ไปยังผู้บริหาร คณาจารย์ นักศึกษาและผู้เกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึงทั้งสถาบัน
เอกสารหลักฐาน
-
 

3.มีโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมการพัฒนาพฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมที่กำหนดในข้อ 1 โดยระบุตัวบ่งชี้และเป้าหมายวัดความสำเร็จ
เอกสารหลักฐาน
-
 

4.มีการประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายที่กำหนดในข้อ 3 โดยมีผลการประเมินบรรลุเป้าหมายอย่างน้อย ร้อยละ 90 ของตัวบ่งชี้
เอกสารหลักฐาน
-
 

5.มีนักศึกษาหรือกิจกรรมที่เกี่ยวกับนักศึกษาได้รับการยกย่องชมเชย ประกาศเกียรคุณด้านคุณธรรมจริยธรรม โดยหน่วยงานหรือองค์กรระดับชาติ
เอกสารหลักฐาน
-
 

 
จุดเด่น/แนวทางพัฒนา
      จุดแข็ง
        - คณะมีความเด่นชัดในด้านคุณธรรมจริยธรรมของคณะวิทยาการจัดการ
แนวทางเสริม
        คณะควรสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมอย่างต่อเนื่อง

จุดที่ควรพัฒนา/ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง

        -
 
ผู้รับผิดชอบ
อ.ศิริพงษ์ ฐานมั่น และนายพีรวัฒน์ ตันตอ